คำ ม อก หลวง

ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 7-15 เมตร มีน้ำยางเหลือง กิ่งอ่อนมีขนปกคลุม ผลัดใบช่วงสั้น ๆ พุธที่ 9 มิถุนายน 2564 เวลา 05. 15 น. ชื่อเรียกอื่น ๆ ไข่เน่า คำมอก ช้าง ผ่าด้าม หอมไก๋ ยางมอกใหญ่ แสลงหอมไก๋ ไม้ต้นขนาดกลาง สูง 7-15 เมตร มีน้ำยางเหลือง กิ่งอ่อนมีขนปกคลุม ผลัดใบช่วง สั้น ๆ เวลาออกดอก ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปวงรีขอบขนานหรือแกมรูปไข่กลับ ปลายใบแหลมหรือมน โคนใบมน ขอบใบเรียบ มีหูใบเป็นปลอกที่บริเวณรอบกิ่ง หลุดร่วงง่ายเห็นรอยแผลชัดเจน ดอกเดี่ยว สีเหลืองสด เปลี่ยนเป็นสีซีดหรือขาวนวลเมื่อร่วง ออกที่ซอกใบ มีกลิ่นหอม ขนาดผ่าศูนย์กลาง 5. 5-7 ซม. ผลสด รูปรีหรือรูปขอบขนาน การใช้ประโยชน์ ใช้เมล็ด ต้มเคี่ยวกับน้ำผสมเป็นยาสระผมฆ่าเหา ที่มา ฐานข้อมูลพรรณไม้ องค์การสวนพฤกษศาสตร์ กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. คุณเห็นด้วยกับข่าวนี้หรือไม่ เห็นด้วย 0% ไม่เห็นด้วย ความคิดเห็น ข่าวล่าสุด

ข้อมูล คำมอกหลวง | harrietteshirley

  1. ข่าว การเมือง ประเทศ อังกฤษ
  2. คำมอกหลวง - สมาคมพืชสวนแห่งประเทศไทย
  3. วิธีการทำให้หนังเทียมเรียบโดยไม่ทำลายผลิตภัณฑ์? (7 วิธี)
  4. ทบทวนปลั๊กชาร์จ วงจรเรียงกระแส 250 องศา Cbr250 400 CB-1 CB400 VTEC | Good price
  5. เรื่องน่ารู้ : คำมอกหลวง | เดลินิวส์
  6. ตลาด พระราม 2 3
  7. เปิดราคา BMW M8 Competition Coupe’ 17,999,000 บาท (625 แรงม้า) นำเข้าทั้งคัน ! | Bimmer-TH
  8. คำมอกหลวง Gardenia sootepensis Hutch. – ข้อมูลพันธุ์ไม้
  9. แมว โดน รถ ชน

คำมอกหลวง

ชื่อไทย คำมอกหลวง (Golden Gardenia) ชื่อท้องถิ่น ไข่เน่า คำมอกช้าง ผ่าด้าม ยางมอกใหญ่ สะแล่งหอมไก๋ หอมไก๋ ชื่อวิทยาศาสตร์ Gardenia sootepensis Hutch. ชื่อวงศ์ RUBIACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ลักษณะทั่วไป ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 เมตร ยอดมีน้ำยางเหนียวสีเหลือง ลักษณะใบ มีขนสั้นนุ่มตามหูใบ แผ่นใบด้านล่าง และก้านใบ หูใบเชื่อมติดกันเป็นวงรอบกิ่ง ยาว 0. 5-1 เซนติเมตร ร่วงเร็ว ทิ้งรอยชัดเจน ใบเรียงตรงข้าม รูปรีถึงรูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 10-30 เซนติเมตร ก้านใบยาว 0. 5-1. 2 เซนติเมตร ลักษณะดอก ดอกออกเดี่ยว ๆ ที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ก้านดอกยาว 1-1.

คำมอกหลวง ชื่ออื่นๆ: ไข่เน่า คำมอกช้าง ผ่าด้าม ยางมอกใหญ่ แสลงหอมไก๋ หอมไก๋ ชื่อสามัญ: Golden Gardenia ชื่อวิทยาศาสตร์: Gardenia sootepensis Hutch. วงศ์: RUBIACEAE ถิ่นกำเนิด: ดอยสุเทพ ประเทศไทย ลักษณะทั่วไป: ไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ทรงพุ่มโปร่ง บริเวณโคนต้นไม่ค่อยแตกกิ่งก้านสาขา ในสภาพธรรมชาติจะผลัดใบ ในสภาพสวนปลูกจะไม่ผลัดใบ เรือนยอดทรงกลมแผ่กว้าง ลำต้นบิดงอ เปลือกสีครีมอ่อนหรือเทา ค่อนข้างเรียบหรือหลุดลอกเป็นแผ่นบางๆ ฤดูการออกดอก: มี. ค. - เม. ย. เวลาที่ดอกหอม: หอมตลอดวัน การขยายพันธุ์: การเพาะเมล็ด ข้อดีของพันธุ์ไม้: ข้อแนะนำ: ข้อมูลอื่นๆ: ดอกออกใหม่ๆ จะมีสีขาวอมเหลืองอ่อนและค่อยๆ เหลืองขึ้นเรื่อยๆ จนกระทั้งมีสีเหลืองเข็ม เมล็ด เป็นส่วนผสมของยาสระผมและมีฤทธิ์ในการฆ่าเหา Chemical constituents of fruits of Gardenia sootepensis Hutch. [Article in Chinese] Wang G, Zhao S, Chen D, Lu Y, Zheng Q. Source: National Institute for the Control of Pharmaceutical and Biological Products, Beijing 100050. Abstract OBJECTIVE: To demonstrate the chemical constituents of the fruits of Gardenia sootepensis.

คำมอกหลวง - Pantip

พรรณไม้ที่พบครั้งแรกในประเทศไทย. กทม. โครงการพัฒนาองค์ความรู้และศึกษานโยบายการจัดการทรัพยากรชีวภาพ. 2551. หน้า 105 ขวัญฤทัย คำฝาเชื้อ 2551 พฤกษศาสตร์พื้นบ้านของชาวกะเหรี่ยง ที่ตำบลบ้านจันทร์และแจ่มหลวง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ วิทยานิพนธ์ (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่271 หน้า ดูฉบับเต็ม

ติดต่อ ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ชั้น 4 อาคาร พลเอกสำเภา ชูศรี เลขที่ 333 หมู่ 1 ต. ท่าสุด อ. เมือง จ. เชียงราย 57100 โทรศัพท์: 0-5391-7897 ต่อ 8030 โทรสาร: 0-5391-6384 อีเมล:

สมุนไพรคำมอกหลวง หรือต้นไข่เน่า ต้นไม้ป่าสรรพคุณรักษาโรคเบาหวาน..!! - YouTube

คำมอกหลวง Gardenia sootepensis Hutch. ไม้ต้นขนาดกลาง ใบออกตรงข้ามเป็นคู่ ปลายยอดแหลมปกคลุมด้วยไขสีเหลือง ดอกสีเหลืองสด ส่วนโคนเป็นหลอดยาว มี ๕ กลีบ บานกลางคืนมีกลิ่นหอมเย็น ผลรูปกระสวยมีสันชัดเจน ไม้ไทยหายาก เก็บตัวอย่างครั้งแรกจากดอยสุเทพ จ. เชียงใหม่ เมื่อร้อยกว่าปีมาแล้ว ภาษาละตินจึงบันทึกไว้เพื่อบอกถึงแหล่งที่มาว่า sootepensis นั่นเอง…

คำมอกหลวง ชื่อสมุนไพร คำมอกหลวง ชื่ออื่นๆ ไข่เน่า (นครพนม) คำมอกช้าง (เหนือ); ผ่าด้าม ยางมอกใหญ่ (นครราชสีมา); แสลงหอมไก๋ หอมไก๋ (ลำปาง) ชื่อวิทยาศาสตร์ Gardenia sootepensis Hutch.

คำมอกหลวง(golden​ gardenia)​สรรพคุณ​และประโยชน์​ - YouTube

ชื่อวิทยาศาสตร์: Gardenia sootepensis Hutch.

แตกกิ่งจำนวนมาก มีทรงพุ่มขนาดใหญ่ ทรงพุ่มกลมโปร่ง มีใบอยู่เฉพาะช่วงปลายยอด ติดอยู่เป็นกระจุกที่ปลายกิ่ง ผลัดใบเล็กน้อย ใบเดี่ยว ใบรูปหอก หรือรูปไข่กลับ ยาว 15-30 ซม. ผิวใบมีขนมาก ลักษณะสากคาย เส้นแขนงใบเห็นเด่นชัด ดอกพุดรักนา ออกดอกเป็นดอกเดี่ยว โคนกลีบดอกเป็นหลอดยาว 5-7 ซม. ดอกออกที่ปลายยอด มีกลีบดอก 6-8 กลีบ ขอบกลีบหยักเว้าคล้ายหัวลูกศร เมื่อดอกบานมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 6-8 ซม. เมื่อเริ่มแย้มมีสีขาวนวลต่อมาเปลี่ยนเป็นเหลืองนวล แล้วเปลี่ยนเป็นสีเหลืองส้มเข้มก่อนโรย ส่งกลิ่นหอมแรงเมื่อใกล้โรย ออกดอกพร้อมกันเต็มต้นในช่วงเดือนมีนาคม ผลพุดรักนา มีลักษณะรูปทรงกลมรี ยาว 3-4 ซม. ผลอ่อนสีเขียว เมื่อสุกสีเหลือง ผลแก่สีดำ มีสันนูนตามยาว 5 เส้น ปลายผลมีกลีบเลี้ยงติดอยู่ มีเมล็ดจำนวนมาก ลักษณะเมล็ด สีขาวหม่น กลมแบน ขนาด 4-6 มม. การขยายพันธุ์พุดรักนา สามารถขยายพันธุ์โดยวิธีการเพาะเมล็ด ปักชำกิ่ง ตอนกิ่ง เสียบยอด ทาบกิ่ง อ้างอิง: ข้อมูลและภาพ จาก หนังสือ 84 พรรณไม้ถวายในหลวง โครงการปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติฯ โดย บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) กรุงเทพฯ, 2552

"พุดรักนา" เป็นพรรณไม้ดอกหอมของไทย ในสกุลดอกพุด Gardenia ซึ่งเป็นเรื่องแปลกที่ "พุดรักนา"ของไทย กับ "พุดน้ำบุศย์" ซึ่งเป็นไม้ดอกไม้ประดับจากต่างประเทศ มีชื่อวิทยาศาสตร์ชื่อเดียวกัน เนื่องจากมีรูปทรงดอกที่คล้ายกัน ทั้ง ๆ ที่มีขนาดทรงพุ่ม ลักษณะใบ ดอกและผลแตกต่างกันมาก ☛ ดูเพิ่มเติม.. ไปที่ร้านค้า พุดรักนา พุดรักนา มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Gardenia carinata Wall. ex Roxb.