มาตรา 40 1 - มาตรา 40(1) คือ

หน้าแรก เกี่ยวกับเรา บริการของเรา รับทำบัญชียื่นภาษี จัดทำบัญชีครบวงจร-บัญชีเอาท์ซอร์ส ตรวจสอบบัญชี วางระบบบัญชีและวางแผนภาษีอากร จดทะเบียนธุรกิจ จดทะเบียนร้านค้าพาณิชย์ บริษัท ห้างหุ้นส่วนจำกัด จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงข้อมูลบริษัท จดทะเบียนปิดกิจการ ให้คำปรึกษาด้านบัญชีและภาษี คอร์สเรียนบัญชีภาษี คอร์สเรียนบัญชีภาษีสำหรับผู้ประกอบการ คอร์สเรียนบัญชีภาษีสำหรับพนักงานบัญชี รับเป็นวิทยากร บริการขอคืนภาษีนิติบุคคล เอกสารดาวน์โหลดฟรี บทความ บทความทางบัญชี สื่อการเรียนรู้ บทความอื่นๆ โปรโมชั่น คอร์สเรียนบัญชี ทำบัญชีภาษีธุรกิจ ติดต่อเรา

มาตรา 40(1)-(8)

2535 เลขตู้: 69/33821

3 หรือว่า ยื่น ภงด. 1 (แล้วคิดแบบอัตราภาษีก้าวหน้า) แสดงความคิดเห็น ชื่อ ความคิดเห็น

เงินได้ตามมาตรา 40(1) และ 40(2) ต่างกันอย่างไร

ผู้มีเงินได้หลายคนยังสงสัยว่า เงินได้ที่ได้รับของตนเป็นเงินได้ประเภทใด เงินได้ตามมาตรา 40(1) และ 40(2) มีความต่างกันอย่างไร พิจารณาความแตกต่างของเงินได้ตามมาตรา 40(1) และ 40(2) ดังต่อไปนี้ 1. ลักษณะการจ้างงาน เงินได้มาตรา 40(1): เป็นการจ้างแรงงานตามระยะเวลาที่กำหนดในสัญญาการจ้างงาน เงินได้มาตรา 40(2): เป็นการจ้างแรงงานโดยมุ่งเน้นให้ได้ผลงานที่สำเร็จตามที่ตกลง 2. การจ่ายค่าจ้าง เงินได้มาตรา 40(1): ได้รับเงินค่าจ้างตามระยะเวลาที่กำหนดในสัญญาการจ้างงาน เงินได้มาตรา 40(2): ได้รับเงินตามผลงานที่ทำเสร็จ 3. ความอิสระในการทำงาน เงินได้มาตรา 40(1): ลูกจ้างอยู่ในการควบคุมของนายจ้างตลอดระยะเวลาทำงาน เงินได้มาตรา 40(2): ผู้รับทำงานมีอิสระในการทำงาน ไม่ต้องอยู่ในการควบคุมตลอดเวลา 4. ความรับผิดชอบเมื่อทำผิด เงินได้มาตรา 40(1): นายจ้างร่วมรับผิดในผลละเมิดที่ลูกจ้างทำขึ้นตามหน้าที่งาน เงินได้มาตรา 40(2): ผู้ว่าจ้างไม่ต้องรับผิดในผลละเมิดที่ผู้รับจ้างทำขึ้น ผู้มีเงินได้ต้องพิจารณาให้ได้ว่าเงินได้ที่ตนได้รับเป็นเงินได้ประเภทใด เนื่องจากเงินได้ตามมาตรา 40(1) เป็นเงินได้ที่ไม่ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มแม้จะมีรายรับมากกว่า 1.

ผู้ประกันตนมาตรา 40 คือ บุคคลทั่วไปที่ประกอบอาชีพอิสระหรือแรงงานนอกระบบที่ไม่ได้เป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 หรือผู้ประกันตนมาตรา 39 โดยผู้ประกันตนมาตรา 40 ของ สำนักงานประกันสังคม มีสิทธิประโยชน์คุ้มครอง 5 กรณี 1.

เช็กสิทธิประกันสังคมมาตรา 40 ได้สิทธิอะไรบ้าง

64 ผู้ประกันตนมาตรา 40 ใน 13 จังหวัด ประกอบด้วย กรุงเทพมหานคร นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร นราธิวาส ปัตตานี ยะลา สงขลา ชลบุรี อยุธยา และฉะเชิงเทรา ได้รับเงินเยียวยาคนละ 5, 000 บาท โดยโอนให้วันละ 1. 5 ล้านคน วันที่ 27 ส.
มาตรา 40 1 - 8 คืออะไร

มาตรา 4.1.1

มาตรา 4.1.5

24 ส. ค. 2564 เวลา 3:25 น. 11. 1k เช็คเงินเยียวยามาตรา 40 ผู้ประกันตนมาตรา 40 ใน 13 จังหวัดสีแดงเข้ม 9 ประเภทกิจการ ที่ได้รับผลกระทบจากมาตรการคุมโควิด-19 ของรัฐ วันนี้ 24 ส. 64 จำนวน 1. 5 ล้านราย มีคิวได้รับเงินเยียวยา 5, 000 บาท จังหวัดไหนบ้าง คิวต่อไปวันไหน เช็คไทม์ไลน์ที่นี่ เช็คเงินเยียวยามาตรา 40 วันนี้ 24 ส. 64 ผู้ประกันตนมาตรา 40 ในพื้นที่ 13 จังหวัด สีแดงเข้ม หรือพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด ใน 9 ประเภทกิจการ ที่ได้รับผลกระทบจากมาตรการคุมโควิด-19 ของรัฐ มีคิวรับ เงินเยียวยา คนละ 5, 000 บาท วันแรกจำนวน 1. 5 ล้านคน ผ่านทางพร้อมเพย์เลขประจำตัวประชาชน 13 จังหวัดสีแดงเข้ม ที่ได้รับเงินเยียวยาวันที่ 24 ส. 64 ได้แก่ กรุงเทพมหานคร นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สมุทรปราการ สมุทรสาคร นราธิวาส ปัตตานี ยะลา สงขลา ชลบุรี อยุธยา และฉะเชิงเทรา ผู้ประกันตนมาตรา 40 สามารถตรวจสอบสิทธิเยียวยา ดังนี้ เข้าเว็บไซต์ประกันสังคม หรือ คลิกที่นี่ เลือกตรวจสอบสิทธิโครงการเยียวยาฯ(ผู้ประกันตนมาตรา 40) กรอกเลขที่บัตรประชาชนจำนวน 13 หลัก กรอกรหัสให้ตรงกับรูปภาพภาพ คลิก ค้นหา ไทม์ไลน์เงินเยียวยาประกันสังคมมาตรา 40 วันที่ 24-26 ส.

มาตรา 4.1.4

หรือสิทธิเดิมที่มีอยู่ 2.

เลขที่หนังสือ: กค 0706/295 วันที่: 13 มกราคม 2549 เรื่อง: ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กรณีเงินได้จากบำเหน็จดำรงชีพของสภากาชาดไทย ข้อกฎหมาย: มาตรา 48(5) แห่งประมวลรัษฎากร ข้อหารือ: กรณีเจ้าหน้าที่หน่วยงาน ส. มีสวัสดิการเหมือนข้าราชการและได้รับบำเหน็จดำรงชีพ แต่กรมสรรพากรได้เรียกเก็บภาษีเงินได้โดยถือเป็นเงินได้จากการจ้างแรงงานตามมาตรา 40 (1) แห่งประมวลรัษฎากร เพราะถือว่าไม่เป็นข้าราชการ จึงขอทราบว่า ผู้มีเงินได้ดังกล่าวควรมีสิทธิเลือกเสียภาษีโดยไม่ต้องนำไปรวมคำนวณภาษีกับเงินได้อย่างอื่นตามมาตรา 48 (5) แห่ง ประมวลรัษฎากร ได้หรือไม่ อย่างไร แนววินิจฉัย: บำเหน็จดำรงชีพของหน่วยงาน ส. ไม่ถือเป็นบำเหน็จดำรงชีพตามกฎหมายว่าด้วยบำเหน็จบำนาญข้าราชการและกฎหมายว่าด้วยกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ จึงไม่ได้รับยกเว้น ไม่ต้องรวมคำนวณเพื่อเสียภาษีเงินได้ตามข้อ 2 (64) แห่งกฎกระทรวง ฉบับที่ 126 ( พ. ศ.

กรณีเสียชีวิต - จ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 6 ใน 12 เดือน ก่อนเดือนที่ตาย ยกเว้น กรณีตายเพราะอุบัติเหตุ - หากจ่ายเงินสมทบไม่ครบ 6 ใน 12 เดือน แต่มีการจ่ายเงินสมทบ 1 ใน 6 เดือน ก่อนเดือนที่ตาย ทางเลือกที่ 1 และทางเลือกที่ 2 - ได้รับเงินค่าทำศพ 25, 000 บาท จ่ายให้กับผู้จัดการศพ - ได้รับเงินสงเคราะห์กรณีตาย 8, 000 บาท หากจ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 60 เดือนก่อนเดือนที่ตาย ทางเลือกที่ 3 - ได้รับเงินค่าทำศพ 50, 000 บาท ก่อนเดือนที่ตายจ่ายให้กับผู้จัดการศพ 4. กรณีสงเคราะห์บุตร จ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 24 ใน 36 เดือน ก่อนเดือนที่มีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทน *ขณะรับเงินสงเคราะห์บุตร ต้องจ่ายเงินสมทบทุกเดือน* ทางเลือกที่ 1 และทางเลือกที่ 2 - ไม่คุ้มครอง ทางเลือกที่ 3 - ได้รับเงินสงเคราะห์บุตรรายเดือน คนละ 200 บาท คราวละไม่เกิน 2 คน บุตรอายุตั้งแต่แรกเกิดแต่ไม่เกิน 6 ปี บริบูรณ์ 5.

  • มาตรา 40 1 - 8 คืออะไร
  • เงินได้มาตรา 40(1) และ 40(2) แตกต่างกันหรือไม่ คำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา | ภาษีอย่างย่อ | - YouTube
  • มาตรา 4.1.4
  • เพื่อนคุณการบัญชี | รับทำบัญชี