Digital Signature กฎหมาย / กฎหมาย E-Signature คืออะไร - ลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์

เพื่อเป็นแนวทางและข้อเสนอแนะให้กับหน่วยงานที่ประสงค์จะใช้ e-Signature ในการดำเนินงาน ซึ่งผู้เขียนเห็นว่ามีประโยชน์และจะช่วยยกระดับมาตรฐานในการทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทยให้ไปในทิศทางเดียวกัน บทความฉบับนี้จึงถือโอกาสอธิบายและขยายความในเรื่องดังกล่าว นิยามตามกฎหมายของ e-Signature พ. ร. บ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ได้กำหนดว่า "e-Signature" หรือ "ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์" หมายถึง การสร้างชุดข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (ในรูปแบบตัวเลข อักษร เสียง หรือสัญลักษณ์อื่นใด) เพื่อใช้แสดงความสัมพันธ์กับบุคคลผู้เป็นเจ้าของชุดข้อมูลดังกล่าว (เจ้าของลายมือชื่อ) โดยมีวัตถุประสงค์หลัก 2 ประการคือ 1. เพื่อระบุ ตัวบุคคลผู้เป็นเจ้าของลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์และสามารถแสดงความเชื่อมโยงไปยังชุดข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ และ 2.

“การลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์” คืออะไรและมีผลทางกฎหมายอย่างไร?

ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ฯ) ให้ถือว่าลงลายมือชื่อแล้ว ถ้า สามารถระบุเจ้าของลายมือชื่อ แสดงเจตนาของเจ้าของลายมือชื่อ ใช้วิธีการที่เชื่อถือได้ที่ 1) ใช้วิธีการที่มั่นคงและรัดกุม 2) เป็นลักษณะ ประเภท หรือขนาดของธุรกรรมที่ทำ ฯลฯ 3) ความรัดกุมของระบบติดต่อสื่อสาร หรือใช้วิธีการอื่นใดหรือเอามาประกอบกับพยานหลักฐานเพื่อระบุเจ้าของลายมือชื่อ และแสดงเจตนาของเจ้าของลายมือชื่อ (2) ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ประเภทที่ 2 ที่ให้บริการกันในกลุ่ม (ตามมาตรา 26 ของ พ. ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ฯ) ให้ถือว่าเป็นลายมือชื่อที่เชื่อถือได้ ตัวอย่างหนึ่งของลายมือชื่อประเภทนี้ คือ ลายมือชื่อดิจิทัล ที่ให้บริการกันในกลุ่ม นั่นเอง โดย เข้ารหัสลับ (Encrypt) ที่สามารถตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของลายมือชื่อและข้อความอิเล็กทรอนิกส์ได้ ขณะลงนาม เจ้าของข้อมูลเป็นผู้ควบคุมการลงนามของตัวเอง โดยไม่โดนคนอื่นมาสวมรอยหรือบังคับให้ทำ (3) ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ประเภทที่ 3 ที่ให้บริการโดยผู้ให้บริการออกใบรับรอง (ตามมาตรา 26 ของ พ. ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ฯ) คือการใช้ลายมือชื่อ ประเภทที่ 2 และอาศัยใบรับรองที่ออกโดยผู้ให้บริการออกใบรับรอง เพื่อสนับสนุนลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส ตามที่กำหนดใน มาตรา 28 ของ พ.

18 ม. ค. 2565 เวลา 11:30 น. 1.

Chart

digital signature กฎหมาย chart

ETDA ประกาศมาตรฐานลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ สร้างเกณฑ์การใช้ที่เหมาะสม ลดเสี่ยงธุรกรรมออนไลน์ - สพธอ.

ไม่น่าเชื่อถืออย่างไร ท้ายที่สุดในทางปฏิบัติ การเลือกประเภทของ e-Signature ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย โดยต้องพิจารณา factors ต่างๆ ประกอบเช่น มูลค่าและความถี่ในการทำธุรกรรม ความสอดคล้องของระบบงานภายในองค์กร รวมถึงระดับการยอมรับของคู่สัญญา โดยอาจพิจารณาจากมาตรฐานที่ใช้ในอุตสาหกรรมประเภทนั้นประกอบ ซึ่งหากท่านปฏิบัติตามข้อกำหนดของกฎหมายแล้ว ลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้นั้นยอมมีผลในทางกฎหมาย [ บทความนี้เป็นความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน]

Images

  1. Digital signature กฎหมาย logo
  2. กฎหมายกับ Digital Signature - Fusion Solution
  3. เช็คสิทธิ มาตรา 33.com
  4. Digital signature กฎหมาย free
  5. BabyLady Official - Babylady ชุดคลุมท้องแฟชั่น
digital signature กฎหมาย letter